ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การวิเคราะห์ความแปรปรวน

การวิเคราะห์ความแปรปรวน

        ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร 1 กลุ่ม และ 2 กลุ่ม ตัวสถิติ ทดสอบที่ใช้คือ Z หรือ T โดยการเลือกใชต้วัสถิติทดสอบใดข้ึนอยกู่ บัวา่ ทราบความแปรปรวนของ ขอ้ มูลในประชากรน้ันหรือไม่ ตวัอย่างมีขนาดใหญ่ หรือเล็ก แต่ในกรณีที่ท าการศึกษาประชากร มากกว่า 2 กลุ่ม และต้องการทดสอบสมมติฐานว่า ค่าเฉลี่ยของประชากรแต่ละกลุ่มนั้นแตกต่างกันหรือไม่จะต้องทดสอบสมมติฐานทีละคู่ เช่นในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของ ประชากร 3 กลุ่ม จะตอ้งทา การทดสอบสมมติฐานทีละคู่จำ นวน 3 คร้ัง ดังนี้


ซึ่งจะทำให้เสียเวลาในการทดสอบสมมติฐานที่ซ้า ซ้อนเป็นอย่างมาก และประการสำคัญคือเป็นการทำค่าระดับนัยสำคัญมีค่ามากเกินไป ดังนั้น จึงมีการนำเทคนิคการวิเคราะห์ความ แปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบ สมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกรณีประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม (k กลุ่ม) โดยทำการทดสอบเพียงครั้งเดียว เช่นกรณีประชากร 3 กลุ่ม สมมติฐานเชิงสถิติเป็นดังนี้


     ถ้าผลการทดสอบสมมติฐานปฏิเสธ H0 หมายความว่ามีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่มีค่า แตกต่างกันซึ่ง อาจจะเป็น μ1 ≠ μ2 หรือ μ1 ≠ μ3 หรือ μ2 ≠ μ3 หรือ μ1 ≠ μ2 ≠ μ3 ก็ได้ซึ่งการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มใดไม่เท่ากันนั้นเรียกวา่ การเปรียบเทียบเชิงพหุ(Multiple Comparison) ซึ่งจะกล่าวรายละเอียดต่อไป 
     การวเิคราะห์ความแปรปรวนมีด้วยกนั หลายประเภท ในเอกสารฉบับนี้จะกล่าวถึงการ วิเคราะห์ความแปรปรวนเพียง 2แบบ คือ 
1. การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) 
2. การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-way ANOVA)

หลักการของการวิเคราะห์ความแปรปรวน 
     หลักเกณฑ์ที่สำ คัญในการวเิคราะห์ความแปรปรวนคือแบ่งความแปรปรวนของข้อมูล ทั้งหมดออกตามสาเหตุที่ทา ให้ข้อ มูลแตกต่างกัน คือความแปรปรวนภายในกลุ่ม (within group) และความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม (between group) โดยที่ ความแปรปรวนทั้งหมด = ความแปรปรวนภายในกลุ่ม + ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม

การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว 
     เป็นการศึกษาปัจจัยหรือแฟคเตอร์ (factor) ที่มีผลทำให้ข้อมูลแตกต่างกันเพียงปัจจัยเดียวโดยที่ปัจจัยนั้นอาจมีหลาย ๆ ระดับเรียกระดับต่างๆ ของปัจจัยว่าทรีทเมนต์ (treatment) ดังนั้นจึงเป็นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลในระดับต่างๆ ของปัจจัยนั่นเองนิยมเรียกข้อมูลว่าค่าสังเกต และหน่วยแจงนับที่ใหข้อมูลว่าหน่วยทดลอง (experimental unit) เช่น 

ตัวอย่าง 9.1 บริษทัผลิตถุงกระดาษที่ใช้ในร้านขายของชา พบว่า ความเหนียวของถุงกระดาษข้นอยู่ กับความเข้มข้นของเยื่อไม้ที่ใช้ทำ เยื่อ กระดาษ จึงทำการทดลองผลิตถุงกระดาษโดยใช้ความเข้มข้น ของเยื่อไม้ต่างกนั คือ5% 10% 15% และ 20% แล้วทำการวัดความเหนียวของถุงกระดาษที่เลือก จากแต่ละกลุ่ม ๆ ละ6 ใบ 

              ค่าสังเกต คือความเหนียวของถุงกระดาษ 
              แฟคเตอร์ คือความเข้มข้นของเยื่อไม้ 
              ทรีทเมนต์ คือความเขม้ขน้ของเยื่อไม้ต่างกัน คือ5%, 10%, 15% และ 20%  
              หน่วยทดลอง คือถุงกระดาษ 

           ลักษณะของตารางข้อมูล
     

           ลักษณะของตารางข้อมูลในรูปทั่วไป 
ลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเป็นดังนี้



เมื่อ xij แทนข้อมูลของทรีทเมนต์ที่ i หน่วยทดลองที่ j
      i = 1,2,3,…,k และ j=1,2,3,…,ni
              Ti แทนผลรวมของข้อมูลทรีทเมนต์ที่ 
T แทนผลรวมขอ้ มูลท้งัหมด
                 xi แทนค่าเฉลี่ยของข้อมูลทรีทเมนต์ที่ i
                x แทนค่าเฉลี่ยของข้อมูลทั้งหมด       
k แทนจำนวนทรีทเมนต์ 
                                             n แทนจา นวนขอ้มูลท้งัหมด เท่ากบั n1 +n2 +n3 +…+n  

     เนื่องจากการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเป็นการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยเดียวที่มีผลทำให้ค่าสังเกตแตกต่างกันนั้น คือข้อมูลมีความแตกต่างเนื่องจากกลุ่มที่แตกต่างเท่านั้นดังนั้นการวเิคราะห์จึงแบ่งความแปรปรวนของข้อมูลเป็นดังนี้

     1. ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม (Between Groups Sum of Square) เขียนแทนด้วย สัญลักษณ SSB 
เป็นการพิจารณาความแปรปรวนที่เกิดจากการที่ค่าเฉลี่ยของตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม แตกต่างจากค่าเฉลี่ยรวม โดยที่ 

2. ความแปรปรวนภายในกลุ่ม (Within Group Sum of Square) เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ SSE เป็นการพิจารณาความแปรปรวนที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มแต่ละกลุ่มซึ่งไม่ทราบสาเหตุ ว่าเป็นความแปรปรวนที่เกิดจากสาเหตุใด ในบางครั้งจึงเรียกว่าความคลาดเคลื่อน (Error Sum of Square)โดยที่ 

3. ความแปรปรวนรวม (Total Sum of Square) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ SST เป็น การพิจารณาความแปรปรวนที่เกิดจากค่าสังเกตแต่ละค่าแตกต่างจากค่าเฉลี่ยรวม โดยที่

     การคำนวณ Sum of Square นอกจากจะคำนวณจากวิธีการข้างต้นแล้ว ยังมีวิธีการคำนวณที่ปรับให้ง่ายขึ้น ดังนี้


เงื่อนไขของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
      ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร k กลุ่ม ด้วยเทคนิคการ วิเคราะห์ความแปรปรวน มีเงื่อนไขดังนี้

1 ประชากร k กลุ่มมีการแจกแจงแบบปกติ 
2 ความแปรปรวนของแต่ละประชากรเท่ากนั
3 ตวัอย่างสุ่มจากแต่ละประชากรเป็นอิสระต่อกัน

สมมติฐานในการทดสอบ
กำ หนด μ1 แทนค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่1 
              μ2 แทนค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 2 
                                        .
                                        .
                                        .
              μk แทนค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่k

สมมติฐานเชิงสถิติ 
H0 :μ1=μ2=μ3=...=μk
H0 :μ1=μ2=μ3=...≠μk  อย่างน้อย1คู่
 หรือ
H0 : ค่าเฉลี่ยของประชากรk กลุ่มไม่แตกต่างกัน
H1 : ค่าเฉลี่ยของประชากรk กลุ่มแตกต่างกันอย่างน้อย1คู่

ตัวสถิติทดสอบ และค่าวิกฤต


ตัวสถิติในการทดสอบคือ



ซึ่งคำนวณจากตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance Table)หรือเรียกว่าANOVA ดังนี้

อาจารย์ผู้สอนวิชาสถิติต้องการเปรียบเทียบผลการสอบย่อยของนักศึกษา 3 กลุ่ม ได้แก่
นักศึกษาชั้น ปี1, 2 และ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนจึงทำการเลือกตัวอย่างนักศึกษาชั้น ปี1, 2 และ 3 มา
กลุ่มละ4, 6และ5 คน ตามลำดับ จากนั้นทำการทดสอบโดยใช้ข้อสอบเดียวกันซึ่งมีคะแนนเต็ม 10
คะแนน นักศึกษาได้คะแนนสอบ ดังนี้


ให้ทดสอบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา 3 ชั้นปีนี้แตกต่างกัน หรือไม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05




จากตาราง ANOVA ตัวสถิติทดสอบ
ค่าวกิฤต
f1-a,k-1,n-k = f 0.95,2,12 = 3.89 
เนื่องจากค่าสถิติทดสอบ F=8.49 อยู่ในบริเวณปฏิเสธ HO หมายความว่าคะแนนเฉลี่ย
ของนกัศึกษาอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มจะแตกต่างไปจากกลุ่มอื่นๆ ที่ระดับนัยสำ คัญ 0.05















ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)       การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) เป็นส่วนหน่ึงของสถิติเชิงอนุมาน (Statistical Inference) ซ่ึงเป็นการทดสอบเกี่ยวกับพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่า โดยสุ่มตัวอย่างจากประชากรแล้ว อาศัยการแจกแจงของตัวสถิติ สร้างสถิติทดสอบเกี่ยวกับพารามิเตอร์น้ันๆ ศัพท์ที่ควรรู้ในการทดสอบสมมติฐาน        ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่าใดๆ จึงควรรู้จัก ความหมายหรือนิยามของ คำศัพท์ต่างๆ ดังติอไปนี้          1. สมมติฐาน คือ ความเชื่อหรือคำกล่าวอ้างยืนยันเกี่ยวกับลักษณะของประชากร ซ่ึงอาจมีเพียงประชากรเดียวหรือหลายประชากรก็ได้          2. สมมติฐานที่จะทดสอบ เรียกว่า สมมติฐานหลัก (Null Hypothesis) เขียนแทนด้วย H 0  สมมติฐานที่แย้งกับสมมติฐานหลัก และนำมาพิจารณาในการทดสอบด้วย เรียกว่า สมมติฐานแย้ง หรือสมมติฐานรอง (Alternative Hypothesis) ซ่ึงแทนด้วย H 1          3. บริเวณย...

สถิติการวางแผนการทดลอง

สถิติการวางแผนการทดลอง         งานวิจัยส่วนใหญมีการใช้หลักวิชาการสถิติวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปผลและวิธีวิเคราะห์จะ แตกต่างกันตามแผนการทดลองที่ใช้ ดังนั้น นักวิจัยควรมีความเข้าใจในขั้นตอนการวางแผนการ ทดลอง เพราะการทดลองที่ดีจะมีการกําหนดขั้นตอนในการวางแผนการทดลองไว้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มี คุณภาพสามารถตอบวัตถุประสงค์ได้ครบถ้วน     การทดลอง (Experiment) หมายถึงการจ าลองสภาพ จริงให้อยู่ในลักษณะที่ควบคุมตามเงื่อนไขที่กำหนด และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์      การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) หมายถึง การกกำหนดตัวแปร (X) ที่ควบคุมได้ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตอบสนอง (Y) หรือหมายถึงการสุ่มทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลอง ขั้นตอนการทดลอง • กำหนดปัญหา  • กำหนดวัตถุประสงค์ในการทดลอง และสมมติฐานที่ต้องการ ทดสอบ  • กำหนดตัวแปรต่างๆ ในการทดลอง  • กำหนดขนาดของการทดลอง หรือ จำนวนซ้ำต่อหนึ่งทรีทเมนต์  • เลือกหน่วยทดลอง  • วางแผนการทดลองที่เหมาะสม  • ดำเนินการทดลองตามที่ได้วางแผนไว้  • สรุปผลและแปรควา...