ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

บทที่ 1

บทที่ 1
โพสต์ล่าสุด

การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)       การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) เป็นส่วนหน่ึงของสถิติเชิงอนุมาน (Statistical Inference) ซ่ึงเป็นการทดสอบเกี่ยวกับพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่า โดยสุ่มตัวอย่างจากประชากรแล้ว อาศัยการแจกแจงของตัวสถิติ สร้างสถิติทดสอบเกี่ยวกับพารามิเตอร์น้ันๆ ศัพท์ที่ควรรู้ในการทดสอบสมมติฐาน        ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่าใดๆ จึงควรรู้จัก ความหมายหรือนิยามของ คำศัพท์ต่างๆ ดังติอไปนี้          1. สมมติฐาน คือ ความเชื่อหรือคำกล่าวอ้างยืนยันเกี่ยวกับลักษณะของประชากร ซ่ึงอาจมีเพียงประชากรเดียวหรือหลายประชากรก็ได้          2. สมมติฐานที่จะทดสอบ เรียกว่า สมมติฐานหลัก (Null Hypothesis) เขียนแทนด้วย H 0  สมมติฐานที่แย้งกับสมมติฐานหลัก และนำมาพิจารณาในการทดสอบด้วย เรียกว่า สมมติฐานแย้ง หรือสมมติฐานรอง (Alternative Hypothesis) ซ่ึงแทนด้วย H 1          3. บริเวณย...

สื่อการสอนเกี่ยวกับสถิติและการวางแผนการทดลอง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ การวิเคราะห์ค่าสถิติเบื้องต้น การประมาณค่าสถิติ การทดสอบสมมติฐานสถิติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวางแผนการทดลอง

การประมาณค่า

การประมาณค่า             "การประมาณค่า" คือการใช้ข้อมูลตัวอย่างประมาณค่าพารามิเตอร์หรือลักษณะของประชากร เช่น การประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร การประมาณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร เป็นต้น             การประมาณค่าเป็นวิธีการทางวิเคราะห์ทางสถิติที่นอยมใช้กันมาก เช่น การประมาณเกี่ยวกับยอดขายเฉลี่ของสินค้าประเภทต่างๆ การประมาณค่าเฉลี่ย เป็นต้น ประโยชน์ของการนำค่าประมาณที่ได้จากการประมาณค่า เช่น การนำค่าประมาณที่ได้นั้นไปใช้ในการวางแผนด้านการผลิตหรือ การจัดหาให้เพียงพอ หรือเพื่อไปคำนวณค่าอื่นๆ เช่น ค่าดัชนีผู้บริโภค เป็นต้น             การประมาณค่า แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ                         1. การประมาณค่าแบบจุด เป็นการประมาณค่าพารามิเตอร์ของประชากรด้วยค่าเพื่อค่าเดียว การประมาณค่าแบบนี้อาจจะมีค่าเท่ากับค่าพารามิเตอร์หรืออาจมีโอกาสที่จะได้ค่าที่คาดเคลื่อนไปจากค่าพารามอเตอร์ได้มาก ทั้งนี้อยู่กับหน่วยตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ (ถ้าหน่วยตัว...

การวิเคราะห์ค่าสถิติเบื้องต้น

การวิเคราะห์ค่าสถิติเบื้องต้น การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น หลังจากที่เก็บรวบรวมข้อมูลและสร้างแฟ้มข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยจะต้องทาการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปผลของการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ซึ่งจาเป็นต้องใช้วิธีการทางสถิติช่วยในการวิเคราะห์ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ซึ่งเป็นการนำเสนอข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยนามาบรรยายถึงลักษณะของข้อมูลที่เก็บมาได้ ทั้งในรูปแบบของตาราง ข้อความ แผนภูมิ หรือกราฟต่างๆ และค่าสถิติต่างๆ 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inference Statistics) หมายถึงการวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่าง แล้วนาผลการวิเคราะห์นั้นอ้างอิงถึงลักษณะที่สาคัญของประชากร โดยใช้หลักเกณฑ์ของความน่าจะเป็น และสถิติเชิงอนุมานจะประกอบด้วย การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐานที่ใช้พารามิเตอร์ และที่ไม่ใช้พารามิเตอร์ เป็นต้น (ซึ่งเนื้อหาดังกล่าวจะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อต่อไป) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นการนำเสนอข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยนามาบรรยายถึงลักษณะของข้อมูลที่เก็บมาได้ ทั้งในรูปแบบของตาราง ข้อความ แผนภูมิ หรือกราฟต่างๆ...

การวิเคราะห์ความแปรปรวน

การวิเคราะห์ความแปรปรวน         ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร 1 กลุ่ม และ 2 กลุ่ม ตัวสถิติ ทดสอบที่ใช้คือ Z หรือ T โดยการเลือกใชต้วัสถิติทดสอบใดข้ึนอยกู่ บัวา่ ทราบความแปรปรวนของ ขอ้ มูลในประชากรน้ันหรือไม่ ตวัอย่างมีขนาดใหญ่ หรือเล็ก แต่ในกรณีที่ท าการศึกษาประชากร มากกว่า 2 กลุ่ม และต้องการทดสอบสมมติฐานว่า ค่าเฉลี่ยของประชากรแต่ละกลุ่มนั้นแตกต่างกันหรือไม่จะต้องทดสอบสมมติฐานทีละคู่ เช่นในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของ ประชากร 3 กลุ่ม จะตอ้งทา การทดสอบสมมติฐานทีละคู่จำ นวน 3 คร้ัง ดังนี้ ซึ่งจะทำให้เสียเวลาในการทดสอบสมมติฐานที่ซ้า ซ้อนเป็นอย่างมาก และประการสำคัญคือเป็นการทำค่าระดับนัยสำคัญมีค่ามากเกินไป ดังนั้น จึงมีการนำเทคนิคการวิเคราะห์ความ แปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบ สมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกรณีประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม (k กลุ่ม) โดยทำการทดสอบเพียงครั้งเดียว เช่นกรณีประชากร 3 กลุ่ม สมมติฐานเชิงสถิติเป็นดังนี้       ถ้าผลการทดสอบสมมติฐานปฏิ...

สถิติการวางแผนการทดลอง

สถิติการวางแผนการทดลอง         งานวิจัยส่วนใหญมีการใช้หลักวิชาการสถิติวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปผลและวิธีวิเคราะห์จะ แตกต่างกันตามแผนการทดลองที่ใช้ ดังนั้น นักวิจัยควรมีความเข้าใจในขั้นตอนการวางแผนการ ทดลอง เพราะการทดลองที่ดีจะมีการกําหนดขั้นตอนในการวางแผนการทดลองไว้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มี คุณภาพสามารถตอบวัตถุประสงค์ได้ครบถ้วน     การทดลอง (Experiment) หมายถึงการจ าลองสภาพ จริงให้อยู่ในลักษณะที่ควบคุมตามเงื่อนไขที่กำหนด และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์      การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) หมายถึง การกกำหนดตัวแปร (X) ที่ควบคุมได้ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตอบสนอง (Y) หรือหมายถึงการสุ่มทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลอง ขั้นตอนการทดลอง • กำหนดปัญหา  • กำหนดวัตถุประสงค์ในการทดลอง และสมมติฐานที่ต้องการ ทดสอบ  • กำหนดตัวแปรต่างๆ ในการทดลอง  • กำหนดขนาดของการทดลอง หรือ จำนวนซ้ำต่อหนึ่งทรีทเมนต์  • เลือกหน่วยทดลอง  • วางแผนการทดลองที่เหมาะสม  • ดำเนินการทดลองตามที่ได้วางแผนไว้  • สรุปผลและแปรควา...